Skip to main content

กัมพูชา: ศาลอุทธรณ์ไทยนัดไต่สวนคาขอการฟ้องคดีแบบกลุ่มครั้งแรกในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้กรณีการละเมิดสิทธิมนุษยชนข้ามพรมแดน

กระบวนการยุติธรรมไทยจะสามารถค้าจุนมาตรฐานและหลักการต่างๆในด้านธุรกิจกับสิทธิมนุษยชนที่ชี้แนะโดยคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติและแผนปฏิบัติการระดับชาติว่าด้วยธุรกิจกับสิทธิมนุษยชนได้หรือไม่?

ในวันศุกร์ที่ 31 กรกฎาคม 2563 ศาลแพ่งกรุงเทพใต้ได้นัดฟังคดีการไต่ส่วนที่สาคัญโดยศาลอุทธรณ์ต่อกรณีคาร้องขอพิจารณาเพื่อรับคดีเป็นคดีแบบกลุ่มในข้อพิพาทระหว่างฝ่ายโจทก์ ฮอย ไม (Hoy Mai)และพวก กับ ฝ่ายจาเลย บริษัท มิตรผล จากัด ซึ่งถือเป็นการฟ้องคดีแบบกลุ่มข้ามพรมแดนครั้งแรกภายในภูมิภาคเอเชียที่กลุ่มเกษตรกรชาวกัมพูชาได้รวมตัวกันฟ้องบริษัทข้ามชาติสัญชาติไทยมิตรผล คดีนี้ที่อาจเปรียบเปรยได้ว่าเป็นคดีล้มยักษ์ (David vs Goliath) จะเป็นคดีหมุดหมายสาคัญที่นิยามการเข้าถึงกระบวนการยุติธรรมของผู้ฟ้องร้องแบบกลุ่ม และ ต่อความรับผิดชอบของภาคธุรกิจในภูมิภาค

ในปี 2551 และตลอดไปจนถึงปี 2552 ฝ่ายโจทก์ ฮอย ไม (Hoy Mai) และ สมิน เต็ต (Smen Tit) ได้ถูกขับไล่ให้ออกจากที่ดินของตนในกัมพูชาด้วยการใช้กาลัง การขับไล่นั้นเกิดขึ้นเพื่อเปิดทางให้พื้นที่ดังกล่าวกลายเป็นไร่อ้อยขนาดใหญ่ดาเนินการโดยผู้ผลิตอุตสาหกรรมน้าตาลที่ใหญ่ที่สุดในเอเชีย มิตรผลi บ้านและสิ่งของต่างๆของพวกเขาถูกเผาทิ้ง พวกเขาถูกขู่ด้วยการใช้กาลังและการขังคุกหากพวกเขาต่อต้าน ฮอย ไม ถูกจาคุกเป็นเวลาแปดเดือนและได้คลอดลูกชายในระหว่างที่ถูกจาคุก สาหรับ ฮอย ไม และ สมิน เต็ต ซึ่งเป็นตัวแทนของครอบครัวเกษตรกรชาวกัมพูชาที่แร้นแค้นอีกกว่า 700 ครัวเรือน การฟ้องคดีแบบกลุ่มถือเป็นโอกาสครั้งสุดท้ายที่จะเข้าถึงกระบวนการยุติธรรมต่อการละเมิดสิทธิมนุษยชนของพวกเข

“การฟ้องคดีแบบกลุ่มเป็นองค์ประกอบพื้นฐานที่สาคัญยิ่งต่อการปกป้องสิทธิต่างๆของชาวกัมพูชาที่ด้อยโอกาสเหล่านี้ การเปิดทางให้แก่การฟ้องคดีแบบกลุ่มจะมีส่วนช่วยสร้างมาตรฐานการฟ้องคดีทางกฎหมายที่บ่งบอกว่าบริษัทขนาดใหญ่ก็สามารถรับผิดต่อความเสียหายที่เกิดขึ้นจากการดาเนินการของตน ไม่ว่าแหล่งทุนนั้นจะมาจากแห่งไหนก็ตาม” Eang Vuthy, ผู้อานวยการบริหารของมูลนิธิฟื้นฟูชีวิตและธรรมชาติ (Equitable Cambodia)


สาหรับประเทศไทยและภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ การฟ้องคดีแบบกลุ่มและการใช้การฟ้องรูปแบบนี้ต่อกรณีข้ามพรมแดนเพื่อปกป้องกลุ่มบุคคลผู้ด้อยโอกาสภายในภูมิภาคถือเป็นบททดสอบใหม่ที่ไม่เคยเกิดขึ้นมาก่อน มันจะทดสอบข้อผูกพันของไทยต่อแผนปฏิบัติการระดับชาติว่าด้วยธุรกิจกับสิทธิมนุษยชนที่ได้ระบุอย่างเฉพาะเจาะจงถึงการเข้าถึงกระบวนการยุติธรรมในไทยซึ่งรวมไปถึงสิทธิที่จะได้รับการเยียวยาและคุ้มครองในกรณีที่เกี่ยวข้องกับการดาเนินธุรกิจข้ามพรมแดน ความเป็นมาเพิ่มเติมเกี่ยวกับการฟ้องคดีดังกล่าวสามารถติดตามได้ผ่านข่าวโดยสานักข่าวอัลจาซีรา (Al Jazeera) และ รายงานผลการพิจารณาโดยคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ

“คดีนี้เป็นบททดสอบที่แท้จริงว่ากระบวนการยุติธรรมของไทยจะมีไว้เพียงสาหรับกรณีที่เกิดขึ้นภายในประเทศ หรือ มีไว้สาหรับทุกคนที่แสวงหาการเยียวยาและความยุติธรรมซึ่งรวมไปถึงคดีต่างๆที่เกี่ยวข้องกับการลงทุนข้ามพรมแดน ด้วย นี่จึงเป็นโอกาสของประเทศไทยที่จะแสดงให้ประจักษ์ต่อคนไทยและสังคมนานาชาติว่า ประเทศไทยจะยึดมั่นในสิทธิมนุษยชนและศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ และจะเรียกร้องต่อภาคธุรกิจให้มีหลักปฏิบัติที่ดีที่สุดทางธุรกิจ” ส.รัตนมณี พลกล้า ทนายความ มูลนิธิศูนย์ข้อมูลชุมชน

การนัดฟังการไต่สวนกรณีดังกล่าวจะมีขึ้นใน:
วันศุกร์ที่ 31 กรกฎาคม เวลา 9 นาฬิกา
ศาลแพ่งกรุงเทพใต้

ติดต่อ: Eang Vuthy ผู้อานวยการบริหาร มูลนิธิฟื้นฟูชีวิตและธรรมชาติ (Equitable Cambodia)
อีเมล: vuthy@equitablecambodia.org เบอร์โทรศัพท์: +855 23 210 508
ติดต่อ: ส.รัตนมณี พลกล้า ผู้ประสานงาน มูลนิธิศูนย์ข้อมูลชุมชน
อีเมล: sorrattana1@gmail.com เบอร์โทรศัพท์: +66817725843
ติดต่อ: Melissa Ananthraj ผู้จัดการโครงการสื่อสารและสื่อ สมาคมนานาชาติเพื่อสิทธิมนุษยชนและการพัฒนาแห่งเอเชีย (ฟอรั่ม-เอเชีย)
อีเมล: communication@forum-asia.org

หมายเหตุ: สืบเนื่องจากข้อจากัดต่างๆที่เกิดขึ้นจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด-19 ฝ่ายโจทก์จึงไม่สามารถเข้าร่วมกระบวนการดังกล่าวในชั้นศาลได้ แต่ภาคประชาสังคมต่างๆที่อยู่ในประเทศไทยและผู้สนใจอื่นๆจะเข้าร่วมกระบวนการรับฟังคาไต่สวนดังกล่าว ทั้งนี้ สามารถติดต่อฝ่ายโจทก์และภาคประชาสังคมอื่นๆจากประเทศกัมพูชาได้ผ่านทางโทรศัพท์

Your tax deductible gift can help stop human rights violations and save lives around the world.

Region / Country