Skip to main content

แถลงการณ์ร่วมขององค์กรภาคประชาสังคมเก8ียวกับการปฏบิ ตั ติ าม พิธีสาร พ.ศ. 2557 ประกอบอนุสัญญาว่าด้วยแรงงานบังคับ พ.ศ. 2473

เกือบ 40 ปีที,แล้ว ประเทศไทยให้สัตยาบันรับรอง อนุสัญญาว่าด้วยแรงงานบังคับ ที,จัดทำโดย
องค์การแรงงานระหว่างประเทศ (International Labour Organization - ILO) เพื,อขจัดการเอาคนลงเป็น
ทาส และแรงงานบงั คบั ในทุกรูปแบบ และไม่ถึงสเ,ี ดือนท,ีแล้ว ประเทศไทยยังให้สัตยาบันรับรองพิธีสารเลือก
รับ พ.ศ. 2557 ของอนสุ ญั ญาว่าด้วยแรงงานบงั คบั (P29) ฉบับท,ีมีการแก้ไขล่าสุด ซ,ึงกำหนดให้รัฐซ,ึงให้
สัตยาบันรับรอง ต้องคุ้มครองและชดเชยผู้เสียหายจากแรงงานบังคับ และกำหนดบทลงโทษอย่าง
เหมาะสมตอ่ ผ้กู ระทำความผิด
 
ในปัจจบุ นั รัฐบาลไทยแสดงเจตนารมณ์ท,ีจะบัญญัติกฎหมาย ให้มีเนือp หาสอดคล้องกบั พิธีสารของ
องค์การแรงงานระหว่างประเทศ โดยการออก “พระราชบัญญัติว่าด้วยการป้องกันและขจัดแรงงานบงั คบั ”
หรือท,ีมักเรียกกันทว,ั ไปว่า พระราชบญั ญัติว่าด้วยแรงงานบงั คบั พวกเราซ,ึงเป็นองค์กรท,ีมีช,ือด้านท้ายขอ
ชมเชยรัฐบาลไทยต่อความก้าวหน้านี pแต่ยำp ว่ายังมีสง,ิ ท,ีต้องทำอีกมาก เราขอกระตุ้นรัฐบาลไทยให้คำนึงถึง
เงื,อนไขที,สำคัญสองประการในการดำเนินงานต่อไป
 
ประการแรก นิยามของคำว่า แรงงานบงั คบั ตามพระราชบญั ญัติว่าด้วยแรงงานบงั คบั ฉบบั ใหม่
ของไทย ต้องสอดคล้องกับนิยามที,กำหนดไว้ในอนุสัญญาว่าด้วยแรงงานบังคับขององค์การแรงงาน
ระหวา่ งประเทศท,ีวา่ “แรงงานบงั คบั หมายถึง งานหรือบริการทกุ ชนิดท,ีเกิดจากการบงั คบั ให้คนทำ โดยขู่ว่า
จะมีการลงโทษ และโดยท,ีคนเหล่านัน ไม่ได้สมัครใจทำ”
 
เป็นเร,ืองสำคัญท,ีต้องใช้นิยามเช่นนีใ นทุกข้อบทของกฎหมายไทย เพ,ือป้องกันไม่ให้เกิดความลัก
ลน,ั หรือเกิดช่องโหว่ของกฎหมาย หากไม่มีนิยามท,ีชัดเจนเก,ียวกับแรงงานบงั คบั ในทกุ รูปแบบ อาจขดั ขวาง
การจำแนกและการคุ้มครองอย่างเป็นผลต่อผู้เสียหายทุกคน รวมทัง การเข้าถึงการเยียวยาท,ีเหมาะสม ตาม
ข้อกำหนดในอนุสัญญาและพิธีสารขององค์การแรงงานระหวา่ งประเทศ
 
ประการที,สอง ต้องกำหนดให้แรงงานบงั คบั เป็นความผิดทางอาญาเป็นการเฉพาะ ในปัจจบุ นั การ
เอาผิดกบั การใช้แรงงานบงั คบั ในประเทศไทย ต้องอาศัยอำนาจตามกฎหมายว่าด้วยการค้ามนุษย์ ซง,ึ เป็น
ข้อเท็จจริงที,เน้นยํ.าในบทวิเคราะห์ ล่าสุดขององค์การแรงงานระหว่างประเทศ ด้วยเหตุดังกล่าว แม้
ตระหนักว่าแรงงานบงั คบั เป็นปัจจัยท,ีส่งเสริมให้เกิดการค้ามนุษย์ ซ,ึงถือเป็นฐานความผิดอย่างหน,ึง แต่
เฉพาะการใช้แรงงานบงั คบั เพียงอย่างเดียวยังไม่มีนำ หนักมากพอท,ีจะนำไปสู่การฟ้องร้องดำเนินคดี จึง
ต้องมีการแก้ไขข้อบทเหล่านี  การขจัดแรงงานบงั คบั ไม่อาจเกิดขนึ ได้หากไม่มีข้อบทท,ีนำไปสู่การดำเนินคดี
ต่อการแสวงหาประโยชน์ด้านแรงงานที,ร้ายแรง ซึ,งในบางกรณีอาจไม่ได้เป็นผลมาจากการค้ามนุษย์ หรือ
อาจเกิดขึน ในบริบทท,ีไม่ได้มีการค้ามนุษย์อย่างชัดเจน
 
เราจงึ ขอกระต้นุ รัฐบาลไทยและกระทรวงแรงงาน ให้ทบทวนนิยามของคำวา่ แรงงานบงั คบั และข้อ
บทท,ีกำหนดบทลงโทษ ตามท,ีปรากฏในร่างพระราชบญั ญตั ิวา่ ด้วยแรงงานบงั คบั เพ,ือให้มีเนือ หาสอดคล้อง
กับพิธีสารที,เพิ,งมีการให้สัตยาบันรับรอง และกำหนดให้แรงงานบังคับเป็นความผิดอาญาเป็นการเฉพาะ ใน
กฎหมายเพ,ือต่อต้านการใช้แรงงานบงั คบั
 
ความพยายามของสมาคมการประมงแห่งประเทศไทย และคณะกรรมการร่วมภาคเอกชน 3
สถาบัน (กกร.) ซ,ึงเป็นหน่วยงานหลักของภาคเอกชนทัง สามแห่ง ได้แก่ สภาหอการค้าแห่งประเทศไทย
สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย และสมาคมธนาคารไทย ท,ีไมย่ อมรับร่างพระราชบัญญัติว่าด้วยแรงงาน
บงั คบั ในการทำประชาพิจารณ์ครัง ล่าสดุ โดยสิน เชิง ไม่ใช่เร,ืองน่าประหลาดใจ แต่เป็นส,ิงท,ีน่าผิดหวังอย่าง
ยิ,ง
 
ความพยายามของสมาคมการประมงแห่งประเทศไทย ในการแทรกแซงการทำประชาพิจารณ์ครัง
ล่าสุดท,ีกระทรวงแรงงานเม,ือวันท,ี 19 กันยายน 2561 สะท้อนให้เห็นอย่างชดั เจนถึงทศั นคติในเชิงลบและ
เป็นปรปักษ์ของฝ่ายนายจ้าง ซึ,งขัดขวางความพยายามให้เกิดการอภิปรายอย่างสร้างสรรค์ เกี,ยวกับการ
พัฒนากฎหมายและกระบวนการนิติบัญญัติ การดำเนินงานในลักษณะนีข องสมาคมการประมงแห่ง
ประเทศไทย ขัดขวางโอกาสสำคัญที,จะส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชนในการกำหนดนโยบายและ
กฎหมาย และการทำประชาพิจารณ์เพื,อบรรลุเป้าหมายร่วมกันของทุกภาคส่วน
 
เพื,อให้สามารถบรรลุข้อตกลงร่วมกันเก,ียวกับเนือ หาของกฎหมายนี เราจำเป็นต้องเปิดโอกาสให้ผู้
มีส่วนได้ส่วนเสียทุกฝ่าย สามารถแสดงความเห็น และต้องเคารพความเห็นเหล่านี โดยเฉพาะความเห็น
จากผู้ซง,ึ ทำงานในภาคส่วนท,ีมีความเส,ียงมากสุดต่อการใช้แรงงานบงั คบั รวมทงั อตุ สาหกรรมประมงและ
อื,น ๆ ที,มีการใช้แรงงานอย่างเข้มข้น ด้วยเหตุดังกล่าว รัฐบาลจึงควรปฏิบัติตามแนวทางที,ดีสุดเพื,อส่งเสริม
การอภิปรายแลกเปลย,ี นอยา่ งเป็นประชาธิปไตย
 
ในการสนับสนุนให้มีการปฏิบัติอย่างเต็มที,และเป็นผล ตามมาตรฐานขององค์การแรงงานระหว่าง
ประเทศ องค์กรนายจ้างของไทยควรตระหนักว่า พวกเขาสามารถเพิ,มความสามารถในการแข่งขันใน
ตลาดโลกได้ ด้วยการส่งสัญญาณท,ีน่าเช,ือถือและหนักแน่นต่อประชาคมโลกว่า ทัง รัฐบาลและบรรษัทของ
ไทย ยึดมั,นอย่างจริงจังต่อการขจัดการค้ามนุษย์ แรงงานบังคับ และการแสวงหาประโยชน์ในรูปแบบอื,น ๆ
ให้หมดสนิ  ไปจากขนั ตอนการดำเนินงานและการผลิตในหว่ งโซอ่ ปุ าทาน
 
การให้สัตยาบันรับรองอนุสัญญาว่าด้วยแรงงานบังคับและพิธีสารเลือกรับ พ.ศ.2557 ขององค์การ
แรงงานระหว่างประเทศ จึงนบั เป็นก้าวย่างสำคญั ของรัฐบาลไทย โดยเฉพาะสำหรับอตุ สาหกรรมประมง
และอุตสาหกรรมอาหารทะเลของไทย ซึ,งที,ผ่านมาถูกวิพากษ์วิจารณ์จากปัญหาการละเมิดสิทธิมนุษยชน
และแรงงานบงั คบั อย่างกว้างขวาง
 
ยังคงมีผู้ชายและเด็กผู้ชายชาวไทย พม่า กัมพูชา เวียดนาม และอินโดนีเซียท,ีตกเป็นเหย,ือของ
แรงงานบงั คบั ทงั ในเรือประมงของไทยและต่างชาติ ทงัp นีจ ากข้อมลู ในรายงานการค้ามนษุ ย์ของกระทรวง
การตา่ งประเทศสหรัฐฯ (US State Department Trafficking in Persons - TIP Report)
 
หลายคนถูกบังคับให้ทำงานกลางทะเลเป็นเวลาติดต่อกันหลายปี โดยไม่ได้รับค่าจ้างหรือแทบ
ไมไ่ ด้รับคา่ จ้างเลย บางคนต้องทำงานนานถงึ 18-20 ชว,ั โมงต่อวัน เป็นเวลาเจ็ดวันต่อสัปดาห์ จากการบอก
เล่าโดยตรงของพวกเขา ชีใ ห้เห็นปัญหาการข่มขู่ การทำร้ายร่างกาย และแม้กระท,ังการสังหาร กรณีท,ี
คนงานเจ็บป่วย พยายามหลบหนี หรือขัดขืนคำสั,ง แม้คนงานบางส่วนจะหลบหนีมาได้ แต่ก็ประสบปัญหา
ในการเดินทางกลับบ้านเกิด เนื,องจากยังไม่ได้รับค่าจ้างที,ค้างจ่าย และเนื,องจากไม่มีเอกสารประจำตัวตาม
กฎหมาย หรือไมมี่หนทางเดนิ ทางกลบั บ้านได้อยา่ งปลอดภยั
 
ด้วยเหตุดังกล่าว ทางกลุ่มท,ีมีรายนามด้านท้ายขอกระตุ้นบุคคล ภาคธุรกิจ หน่วยงาน และรัฐบาล
ท,ัวโลก ให้เรียกร้องรัฐบาลไทยให้แสดงความเป็นผู้นำ เพ,ือส่งเสริมการป้องกันแรงงานบังคับ และการ
ฟ้องร้องดำเนินคดี รวมทัง การคุ้มครองผู้เสียหาย และกำหนดเนือ หาในกฎหมายไทยให้สอดคล้องกับ
มาตรฐานขององค์การแรงงานระหวา่ งประเทศ
 
ด้วยความนับถือ
สหพันธ์แรงงานและสภาอุตสาหกรรมแห่งสหรัฐอเมริกา (American Federation of Labor and Congress
of Industrial Organizations: AFL-CIO)
แอมเนสตี อินเตอร์เนชน,ั แนล (Amnesty International)
องค์กรตอ่ ต้านการค้าแรงงานทาสสากล (Anti-Slavery International)
สภาสหภาพแรงงานออสเตรเลีย (Australian Council of Trade Unions: ACTU)
สมาคมมิตรภาพแรงงานข้ามชาติกัมพูชาประจำประเทศไทย (Cambodian Friendship Migrant Workers
Association in Thailand: CFAT)
ศนู ย์สมาพนั ธ์แรงงานและสิทธิมนษุ ยชน (Center for Alliance of Labor and Human Rights: CENTRAL)
มลู นิธิผสานวฒั นธรรม (Cross Cultural Foundation: CrCF)
ภาคีเครือข่ายองค์กรภาคประชาสังคมเพื,ออาหารทะเลที,เป็นธรรมและยั,งยืน (Thai CSO Coalition for
Ethnic and Sustainable Seafood)
มูลนิธิความยุติธรรมเชิงสิ,งแวดล้อม (Environmental Justice Foundation: EJF)
องค์การจริยธรรมพืน ฐานทางการค้า (Ethical Trading Initiative: ETI)
ฟินน์ วอทช์ (FinnWatch)
เครือข่ายเพื,อสิทธิแรงงานประมง (Fishers Rights Network: FRN)
ฟิช ไวส์ (FishWise)
ฟอร์ติฟายไรท์ (Fortify Rights)
มูลนิธิเพื,อการศึกษาและการพัฒนา (Foundation for Education and Development: FED)
ฟรีดอม ฟัน (Freedom Fund)
ฟรีดอม ยไู นเต็ด (Freedom United)
มลู นิธิสิทธิมนษุ ยชนและการพฒั นา (Human Rights and Development Foundation: HRDF)
ฮิวแมนไรท์ แอท ซี (Human Rights At Sea)
ฮิวแมนไรท์ วอทช์ (Human Rights Watch)
ฮิวแมนนิตี ยูไนเต็ด แอ็คชน,ั (Humanity United Action)
มูลนิธิไอเจเอ็ม (IJM Foundation)
สหพันธ์เพื,อสิทธิมนุษยชนสากล (International Federation for Human Rights: FIDH)
สภาสิทธิแรงงานนานาชาติ (International Labor Rights Forum: ILRF)
สหพนั ธ์แรงงานขนสง่ ระหวา่ งประเทศ (International Transport Workers' Federation: ITF)
มลู นิธิเครือข่ายส่งเสริมคณุ ภาพชีวิตแรงงาน (Labour Rights Promotion Network Foundation: LPN)
มลู นิธิมานษุ ยะ (Manushya Foundation)
เครือข่ายการย้ายถ,ินในอนุภูมิภาคลุ่มนำ โขง (Mekong Migration Network: MMN)
มลู นิธิเพ,ือสุขภาพและการเรียนรู้ของแรงงานกลุ่มชาติพันธ์ุ (MAP Foundation)
สภาผู้ย้ายถ,ินในเอเชีย (Migrant Forum in Asia: MFA)
เครือข่ายเพื,อสิทธิแรงงานข้ามชาติ (Migrant Workers Rights Network: MWRN)
เครือขา่ ยองค์กรด้านประชากรข้ามชาติ (Migrant Working Group: MWG)
มูลนิธิรักษ์ไทย (Raks Thai Foundation)
องค์กรทะเลไร้ทาส (Slave Free Seas)
สมาพนั ธ์แรงงานรัฐวสิ าหกิจสมั พนั ธ์ (State Enterprises Workers' Relations Confederation: SERC)
ศนู ย์อภิบาลผ้เู ดินทางทะเล ศรีราชา (Stella Maris Sriracha)
เครือขา่ ยหยดุ ยงั การค้ามนษุ ย์ออสเตเรีย (STOP THE TRAFFIK Australian Coalition)
สเวดวอช (SwedWatch)
เครือข่ายธุรกิจเพื,อสิทธิมนุษยชน ประเทศไทย (Thai BHR Network)
สมาคมสิทธิเสรีภาพของประชาชน (Union for Civil Liberty: UCL)
โบสถ์ยนู ิตงิ ณ ออสเตรเลยี , ไซนอดและแทซมาเนีย (Uniting Church of Australia Synod of Victoria and
Tasmania)
เวอริเต้ (Verité)
องค์การผู้หญิงเพ,ือทะเล (Women4Oceans)

Your tax deductible gift can help stop human rights violations and save lives around the world.